Trigger Finger อาการ, นิ้วล็อค” หรือ Trigger Finger

(อยู่ในศูนย์กีฬากันอริ ก่อนถึงซีคอนบางแค)? 061-801-2482 Line ID: @rehabcare

  1. Treatment
  2. Symptoms
  3. Pictures

Treatment

  • ประกาศขายบ้าน ขายหมู่บ้านนันทวัน-วัชรพล แลน แอนด์ เฮ้าท์ ...
  • Xt100 ส เป ค
  • สำรวจตัวเองเป็น 'โรคนิ้วล็อก' อยู่หรือไม่
  • Trigger finger อาการ symptoms
  • ราคา glc 250d 2016
  • Trigger finger อาการ picture
  • โรคนิ้วล็อค (Trigger Finger)
  • Trigger finger อาการ video
  • Pc workstation ราคา
  • เปิดตัว All-New Mazda3 ปี 2011 เจนเนอเรชั่นใหม่ ทั้งเวอร์ชั่นแฮทช์แบ็คและซีดาน - รถเปิดตัวใหม่ |
  • Trigger finger อาการ 1
  • Trigger finger อาการ name

การเจาะรูใช้เข็มเปิดปลอกหุ้นเอ็น คือการผ่าตัดแบบแผลเล็กที่ใช้อุปกรณ์ขนาดเล็ก โดยมีแผลเท่ากับขนาดของรูเข็ม และผู้ป่วยฟื้นตัวไว 2. การผ่าตัดเปิดปลอกหุ้นเอ็น เป็นวิธีการมาตรฐานที่เปิดแผลขนาด 3-6 มม. เพื่อเข้าไปทำการตัดพังผืดที่กดหุ้มเส้นเอ็น ผู้ป่วยจะสามารถกลับไปทำงานได้ปกติทันทีหลังผ่าตัด โดยการรักษาเเต่ละวิธีการจะมีความเหมาะสมต่อผู้ป่วยที่เเตกต่างกันไป แพทย์เฉพาะทางจะให้คำปรึกษาเเก่ผู้ป่วยโดยเเจ้งรายละเอียด ข้อดี-ข้อเสียของการรักษาเเละร่วมตัดสินใจไปพร้อมกับผู้ป่วย

วางมือลงบนพื้นราบ แล้วยกนิ้ว ทีละนิ้วขึ้นมา ไล่ไปให้ครบ 5 นิ้ว ทำซ้ำ 3-5 รอบ 2. ใช้หนังยางไว้ในมือดังภาพ แล้วค่อยๆกางนิ้วมือทั้ง 5 ออก ช้าๆ ทำ 10 ครั้ง 3 รอบ 3. ทำท่า OK แล้วค่อยๆเหยียดนิ้วออกช้าๆ ทำ 10 ครั้ง 3 รอบ 4. แบฝ่ามือ ค่อยๆงอนิ้วชี้ กลาง นาง ก้อยลง ช้าๆ จากนั้นค่อยๆกำมือ และค่อยๆคลายนิ้วโป้งช้าๆ ทำ 10 ครั้ง 3-5 รอบ ดังภาพ 5.

trigger finger อาการ death

Symptoms

trigger finger อาการ songs

ระยะที่สี่ มีการอักเสบบวมมาก จนนิ้วบวมติดอยู่ในท่างอเล็กน้อย ไม่สามารถเหยียดให้ตรงได้ ถ้าใช้มือมาช่วยเหยียดจะปวดมาก สำหรับวิธีการรักษา โรคนี้ ประกอบไปด้วย 1. การใช้ยารับประทาน เพื่อลดการอักเสบ ลดบวม และลดอาการปวด ร่วมกับพักการใช้มือ 2. การใช้วิธีทางกายภาพบำบัด ได้แก่ การใช้เครื่องดามนิ้วมือ การนวดเบา ๆ การใช้ความร้อนประคบ และ การออกกำลังกายเหยียดนิ้ว โดยการรักษาด้วยยาและกายภาพบำบัด อาจใช้ร่วมกันได้ และมักใช้ได้ผลดีเมื่อมีอาการของโรคในระยะแรก และระยะที่สอง 3. การฉีดยาสเตียรอยด์เฉพาะที่ เพื่อลดการอักเสบ ลดปวดและลดบวม เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างมาก ส่วนมากมักจะหายเจ็บบางรายอาการติดสะดุดจะดีขึ้น แต่การฉีดยามักถือว่าเป็นการรักษาแบบชั่วคราว และข้อจำกัดก็คือ ไม่ควรฉีดยาเกิด 2 หรือ 3 ครั้ง ต่อ 1 นิ้วที่เป็นโรค การรักษาโดยการฉีดยานี้สามารถใช้ได้กับอาการของโรคตั้งแต่ระยะแรกจนถึงระยะท้าย 4.

วิธีรักษาอาการปวด "นิ้วล็อค" Trigger Finger "นิ้วล็อค" Trigger Finger คืออะไร? รักษาอาการเจ็บปวด ด้วยเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย ได้หรือไม่? สาเหตุของอาการ "นิ้วล็อค" Trigger Finger วิธีการทำกายภาพบำบัด และการทำการรักษา ด้วยเครื่องมือแพทย์ รักษาฟิสิโอ คลินิกกายภาพบำบัด 🔸 สาเหตุของอาการ "นิ้วล็อค" คืออะไร? 🔸 อาการปวดนิ้วล็อค หรือ Trigger Finger มีกี่ระดับ 🔸 วิธีการทำกายภาพบำบัด หรือการทำการรักษา 🔸 การทำ Stretching หรือการยืดเส้นเอ็นกล้ามเนื้อฝ่ามือ ช่วยได้หรือไม่ 🔸 ระยะการรักษานิ้วล็อค ต้องใช้เวลานานแค่ไหน. เครื่องมือแพทย์ ที่ใช้รักษาอาการปวด "นิ้วล็อค" + คลื่นอัลตราซาวด์ (Ultrasound) + คลื่น RF หรือ Radio Frequency 🛡 ปล. รักษาฟิสิโอ คลินิกกายภาพบำบัด ร่วมโครงการเราชนะ ด้วยนะ (รักษาครั้งแรก ลด 30%). สอบถามข้อมูลกับนักกายภาพบำบัดได้ที่ Tel. : 062-705-1500 E-mail: April 12, 2022 March 30, 2022 March 23, 2022

content credits: บทความ "4 ระยะ นิ้วล็อก ที่เป็นแล้ว ห้ามละเลย" จาก โรงพยาบาล เวชธานี บทความ "โรคนิ้วล็อค" 1 ในโรคฮิต ออฟฟิศซินโดรม" จาก โรงพยาบาล บางปะกอก 1 บทความ "โรคนิ้วล็อค" จาก โรงพยาบาล นนทเวช บทความ "คลายนิ้วล็อค…นิ้วล็อค ง่ายนิดเดียว" จาก โรงพยาบาล พริ้นซ์ สุวรรณภูมิ picture credits: Different Types of Mobile Games to Play on Your Phone on IMG Grupo TREATMENT FOR HAND NUMBNESS on ACU HEAL Trigger Finger on Quality Healthcare Comments comments

Pictures

โรคนิ้วล็อค โดย อ. นพ. กวี ภัทราดูลย์ โรคนิ้วล็อค อ. กวี ภัทราดูลย์ โรคนิ้วล็อค ภาวะนิ้วล็อค หรือ ภาวะปลอกหุ้มเอ็นอักเสบ (Trigger finger & Trigger thumb) เป็นภาวะที่มีสาเหตุเกิดจากการหนาตัวขึ้น ปลอกหุ้มเส้นเอ็นบริเวณฐานของนิ้วมือ (A1-pulley) ทำให้เส้นเอ็นเคลื่อนผ่านปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่หนาขึ้นนี้ด้วยความยากลำบาก มีการเสียดสีทำให้เกิดอาการปวด หรือติดล็อคได้ โรคนี้พบบ่อยในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และอายุที่พบบ่อยอยู่ประมาณ 40-50 ปี โดยมากจะเกิดกับผู้ที่ใช้งานมือในลักษณะเกร็งนิ้วบ่อย ๆ เช่น การทำงานบ้านต่าง ๆ การบิดผ้า การหิ้ว ของหนัก การใช้กรรไกรตัดกิ่งไม้ ตัดผ้า การยกของหนักต่าง ๆ เป็นต้น อาการของโรคนี้แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1. ระยะแรกมีอาการปวดเป็นอาการหลัก โดยจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ จะมีอาการปวดมากขึ้น ถ้าเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้า แต่ยังไม่มีอาการติดสะดุด 2. ระยะที่สอง มีอาการสะดุด (triggering) เป็นอาการหลัก แต่อาการปวดก็มักจะเพิ่มมากขึ้นด้วย เวลาขยับนิ้วงอและเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรู้สึกได้ 3. ระยะที่สาม มีอาการติดล็อคเป็นอาการหลัก โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่สามารถเหยียดนิ้วออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมาช่วยแกะ หรือ อาจมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เอง 4.

'โรคนิ้วล็อก' (Trigger Finger) เกิดมาจากหลายสาเหตุทั้ง การทำงานบ้าน ทำสวน การเล่นกีฬา หรือเเม้กระทั่งการทำงานในออฟฟิศ แต่เราจะสังเกตตัวเองอย่างไรว่าอาการที่เป็น คือ โรคนิ้วล็อก หลาย ๆ คนคงจะเคยมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้ว เหยียดนิ้ว - งอนิ้วไม่สะดวก หรือรู้สึกว่าการงอนิ้ว เหยียดนิ้ว มีความรู้สึก " กึ๊กๆ " คล้ายสปริง และที่ร้ายสุดคือมีอาการเจ็บมากจนไม่สามารถงอนิ้วได้ ลักษณะอาการดังที่กล่าวมา เราเรียกภาวะนี้ว่าผู้ป่วยเป็น "โรคนิ้วล็อก" (Trigger Finger) ร. ต. อ. นพ.

4 อย่างที่ควรทำหลังกลับจากสงกรานต์ PMS และ TMS ต่างกันอย่างไร? 7 เงื่อนไขการจัดงาน วันสงกรานต์ 5 ข้อทำไม ต้องฝากผู้สูงวัยไว้กับ KIN Checklist Office Syndrome KIN ORIGIN ออกบูสร่วมงาน EECmd พร้อมก้าวสู่ต้นแบบ Medical Valley แห่งแรกของประเทศ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุของการปวดหลัง ทำไมคุณต้องมาฟื้นฟูที่ KIN Rehabilitation & Homecare แนะเลือกบริโภคน้ำแข็ง–น้ำดื่มช่วงหน้าร้อน ลดเสี่ยงปนเปื้อนเชื้อโรค Talk Physical by Physio Therapist การฟื้นฟูหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว 6 กลุ่มเสี่ยงโรคฮีทสโตรก ช่วงหน้าร้อน ผู้ป่วยโควิด เมื่อต้อง 'Home Isolation' หรือแยกกักตัวที่บ้าน ต้องทำอย่างไรถึงจะปลอดภัย? ผลไม้ลดน้ำตาลในเลือด สู้เบาหวาน 3 ท่าง่ายๆทำได้ที่บ้าน สำหรับคนที่เป็นโรครองช้ำ

นิ้วล็อก หรือ Trigger Finger ถือเป็นโรคที่พบได้บ่อยขึ้นในปัจจุบัน เกิดจากการที่เราใช้มือทำกิจกรรมอย่างหนัก โดยมีการงอ เกร็ง เหยียดนิ้ว บ่อย ๆ ซ้ำ ๆ ด้วยความรุนแรง เอ็นจึงมีการเสียดสีจนเกิดการอักเสบบวมขึ้น ไม่สามารถเคลื่อนไหวนิ้วได้สะดวก ซึ่งเมื่อเอ็นเกิดการอักเสบจนไปขัดกับปลอกหุ้มเส้นเอ็นแล้ว ก็จะเกิดอาการสะดุด เจ็บ หรือถ้าเป็นหนัก ๆ นิ้วก็จะล็อกติด ทำให้กำ หรือเหยียดนิ้วออกได้ไม่สุด และหากปล่อยทิ้งไว้นานเรื้อรัง ก็อาจจำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ซึ่งไม่ได้น่ากลัวอย่างที่หลาย ๆ คนคิด การรักษานิ้วล็อก ทำได้อย่างไรบ้าง?

Saturday, 18 June 2022